วันพฤหัสบดีที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2553

โปรแกรมช่วยจัดลำโพงและห้องฟัง article

DIY: โปรแกรมช่วยจัดลำโพงและห้องฟัง article

ดาวน์โหลดได้ด้วยการคลิ๊กเมาส์ขวาที่ภาพ หรือชื่อไฟล์แล้วเลือก Save Target As...
หากไม่สามารถโหลดได้ให้รอสัก ครู่แล้วลองใหม่อีกครั้ง

โปรดทราบ: เวอร์ชั่นล่าสุดของโปรแกรม Smart Stereo Setup (SSS) คือ V0511-25 โดยท่านสามารถดาวน์โหลดไฟล์โปรแกรมเวอร์ชั่นล่าสุดโดยคลิ๊กที่นี่ >> Smart Stereo Setup V0705-29TH.xls (94.50 KB) หรือคลิ๊กขวาและเลือก Save Target As... เพื่อ Save ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน

สำหรับท่านที่มีปัญหาการ ใช้งานเวอร์ชั่นภาษาไทยสามารถดาวน์โหลดเวอร์ชั่นภาษาอังกฤษได้โดยคลิ๊กที่ นี่ >> Smart Stereo Setup V0705-29EN.xls (88.50 KB) หรือคลิ๊กขวาและเลือก Save Target As... เพื่อ Save ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน

ชมตัวอย่างการนำโปรแกรมไป ใช้งานกับห้องฟังโดยคลิ๊กที่นี่ >> ERA123.zip

>> คลิ๊กที่นี่เพื่อดูคำอธิบายเพิ่มเติมในขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม <<


โปรแกรมจะประกอบด้วย 5 ส่วนหลักดังนี้

1. ตำแหน่งลำโพง-จุดนั่งฟัง: เพื่อ สมดุลของเสียงและมิติเวทีเสียงที่ดีในห้องฟังทั่วๆ ไป สำหรับท่านที่อาจยังหาจุดวางลำโพงที่ให้เสียงลงตัวไม่ได้ โดยจะแยกออกเป็น 3 กรณี
- กรณีแปลนห้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและวางลำโพงตามแนวกว้างของห้อง
- กรณีแปลนห้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและ “จำเป็น” ต้องวางลำโพงตามแนวยาวของห้อง
- กรณีแปลนห้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

2. ตำแหน่งลำโพง-จุดนั่งฟังด้วยวิธี Room Mapping: สำหรับการปรับลดปัญหาย่านเสียงทุ้ม

3. จุดสะท้อน Early Reflection: เพื่อ ให้การแก้ไขปัญหาเสียงสะท้อนดำเนินไปได้อย่างสะดวกรวดเร็วและครบถ้วน ซึ่งจะสามารถหาตำแหน่งเสียงสะท้อนแรกได้ครบทั้ง 12 ตำแหน่งโดยไม่ต้องพึ่งพาวิธีการส่องหาเงาลำโพงในกระจกเงาแบบเดิมๆ ให้ยุ่งยากอีกต่อไป เพราะด้วยโปรแกรมนี้คุณจะสามารถทำได้เองคนเดียว
- Early Reflection ที่ผนังด้านข้าง
- Early Reflection ที่พื้น
- Early Reflection บนเพดาน

(อ่านรายละเอียดและวิธีการคำนวณหาเสียงสะท้อนแรก-Early Reflection โดยคลิ๊กที่นี่)

4. หาขนาดห้องฟังรูปทรงกล่องสี่เหลี่ยม (Cuboid) จากคำแนะนำของ George Cardas: สำหรับท่านที่กำลังจะสร้างห้องฟังใหม่ให้ได้สัดส่วนที่ดีเพื่อลดปัญหา Standing Wave/Room Mode ต่างๆ ซึ่งสัดส่วนของห้องที่ได้จากโปรแกรมนี้คุณ George กล่าวว่าเป็นสัดส่วนที่เหมาะที่สุดสำหรับห้องฟังที่มีรูปทรงเป็นกล่องสี่ เหลี่ยม (Cuboid) โดยคุณสามารถเลือกกำหนดได้ว่าจะให้ระยะใดของห้องเป็นระยะอ้างอิง (กว้าง, ยาว หรือ สูง)

5. หาขนาดห้องฟังรูปทรงแทรพากอน (Trapagon) จากคำแนะนำของ George Cardas: รูปทรงนี้คุณ George กล่าวว่าจะเหมาะที่สุดสำหรับห้องฟังหากคุณมีพื้นที่พร้อมด้วยงบประมาณที่ เอื้ออำนวย โดยคุณสามารถเลือกกำหนดได้ว่าจะให้ระยะใดของห้องเป็นระยะอ้างอิง (กว้าง, ยาว หรือ สูง)

วิธีการใช้งานโปรแกรมรวมถึงคำแนะนำต่างๆ จะเป็นภาษาไทยทั้งหมด จึงสามารถใช้งานได้ง่ายๆ โดยผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีทักษะหรือความเชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์แต่อย่างใด

แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขอเรียนกันไว้ก่อนว่า ตัวเลขที่ได้จากการคำนวณในโปรแกรมรวมถึงคำแนะนำต่างๆ อาจให้ผลลัพธ์ที่น่าพอใจหรือไม่น่าพอใจก็ได้ในทางปฏิบัติ เนื่องจากยังมีเหตุปัจจัย-ข้อจำกัดและสภาพแวดล้อมในห้องฟังที่แตกต่างกันออก ไปได้ แต่เสียงตอบรับจากผู้ใช้งานโดยส่วนใหญ่นั้นจะออกมาในทางบวก โดยเฉพาะกับห้องฟังที่มีขนาดไม่เล็กเกินไป (ขนาด 4m x 5m ขึ้นไป)

ดังนี้ก็ขอแนะนำกันเป็นการส่วนตัวด้วยความ ปรารถนาดีว่า ก่อนที่จะคิดการใหญ่เสียสตางค์ในกระเป๋าเพื่อหาซื้ออุปกรณ์เสริมต่างๆ รวมถึงการเรียกหาผู้ที่มีอาชีพรับตกแต่งห้องฟังทั้งหลายนั้น อยากให้ลองปรับเซ็ตด้วยตนเองดูก่อน ซึ่งก็คงได้เสียเพียงแค่เหงื่อต่างสตางค์เท่านั้นเอง

เมื่อจัดการสิ่งที่เป็นพื้นฐานเหล่านี้ได้ ลงตัวในระดับหนึ่งแล้ว การปรับปรุงหรือขยับขยายในส่วนสภาพอคุสติคของห้องฟังก็มีแนวโน้มที่จะได้ ผลลัพธ์ที่ดีมากยิ่งขึ้นไปอีก


Note: This software package based on Typical Speaker Placement Method, Geroge Cardas Recommendation, Stereophonic Speaker Configulation & Psychoacoustic Theory.





S-map: อัลบัมอมตะจังหวะหลุดโลก..! article
S-map: Chesky Records Jazz Vol.1
Sound: เสียงรอบทิศจากหูฟัง (Headphone) article
Vision: ปรับภาพด้วย Digital Video Essential article
Sound: บุหรี่...ภัยร้ายแห่งวงการ Audiophile article
วิดีโอ เทียบสี HD ชุด Color Of Natural
OA: ก็เลยเล่าสู่กันฟัง article
OA: ฟังไป บ่นไป ตามทรรศนะของผม (3)
OA: เหนื่อยจัง ฟังแบบ Audiophile
OA: ฟังไป บ่นไป ตามทรรศนะของผม (2)
OA: ฟังไป บ่นไป ตามทรรศนะของผม (1)
OA: อยู่ก่อนแต่งหรือแต่งก่อนอยู่
OA: นานาสาระ...นะจ้ะ
OA: มือสองต้องลองเสี่ยง
OA: เล่าเรื่องความหลังครั้งเก่า article
OA: แผ่นเสียงก็มีเรื่อง...ราว article
OA: เครื่องเสียง...เรียงร้อยชีวิต article
OA: เสียงไม่จ๊าบ...ต้องใช้ซับวูฟเวอร์ article
HB-DVD คืออะไร? article
HB-HDV: Jodies and the Garden
HB-HDV: High Bit Full HD Video
HB-DVD ชุดสายธารา - Fresh Water article
Vision: เล่น Hi-Def ด้วย Media Player Classic
Vision: ปราบเงาสะท้อนบนจอทีวี article
Vision: ฟรี VDO ช่วยปรับภาพ Hi-Def
Vision: USB 2.0 to SATA/IDE อเนกประสงค์ article
Vision: จะเล่นวิดีโอจากฮาร์ดดิสก์หรือ DVD ? article
Vision: คอมพ์ & ซอฟแวร์สำหรับเล่น Hi-Def article
Vision: ใช้คอมพ์กับ LCDTV ให้คมชัดที่สุด
Vision: ก้าวสู่ระบบภาพในยุค Digital Hi-Def article
Vision: Hi-Def VDO ทดสอบ Response Time article
S-map: ระดับของตำแหน่งเสียง
S-map: ไวโอลิน...สุญญากาศ !
S-map: ยิ่งใหญ่ที่สุด...ลึกล้ำที่สุด ! article
S-map: ยลศิลป์ร่วมสมัยกับบทเพลงบางกอก
S-map: Naturally Balanced 2-Mic Record article
S-map: DIRECT-TO-CD article
S-map: Lesley Olsher - Jazz Me article
S-map: Testrecords 1, 2 & 3 article
S-map: Orchestra's Sound Map article
S-map: Golden Ratio & Stereophile CD
S-map: TIMBRE OF SAX article
S-map: ยืดเส้นยืดเสียงกับ TIS article
S-map: ชื่นใจกับ สุภัทรา อินทรภักดี article
S-map: Tribute To The Great King article
S-map: ดิจิตอล...ตัวบรรจง article
S-map: ขาว + สวย + หมวย = ใส article
Sound: "ยังไม่เบิร์น" มุขเด็ดร้านค้า article
Sound: มิติสเตอริโอนั้นหรือคือสิ่งใด? article
Sound: คร่ำฟังดนตรีเลิศ ล้วนสุขล้ำ... article
Sound: สัมพันธดนตรี article
Sound: ไม่เชื่อ...ก็อย่าลบหลู่ article
Sound: กาลเทศะ อารมณ์ - ปัจจัยแห่งการฟัง article
Sound: ความเป็นกลางแห่งเสียง article
Sound: กระแสสาย กระแสเสียง article
Sound: ร้านค้าน่ารัก ลูกค้าหน้าชื่น article
Sound: เครื่องเสียงชั้นยอดชุดแรก ชุดเดียวและชุดสุดท้าย article
Sound: Gallery เครื่องเสียงเป็นจริงได้หรือแค่ขายฝัน? article
Sound: ห้องและเสียง ตอนที่ 3/3 article
Sound: ห้องและเสียง ตอนที่ 2/3 article
Sound: ทำไมต้องควบคุม Early Reflection article
Sound: ห้องและเสียง ตอนที่ 1/3 article
Sound: เสียงสะท้อน Early Reflection article
Sound: การแทรกสอดของเสียง article
Sound: การได้ยินเสียงของมนุษย์ article
Sound: ความเร็วของคลื่นเสียง article
Sound: เสียงทุ้ม-เสียงแหลม article
Sound: คลื่นเสียงมีหน้าตาอย่างไร? article
Sound: ชอบเอง ฟังเอง article
Sound: CD ดีกว่าแผ่นเสียงจริงหรือ? article
Sound: ห่วงรัด CD เพิ่มความเสถียร (Stabilizer Ring) น่าลองไหม? article
Sound: ปากกาหมึกเขียวที่ใช้ทาขอบ CD น่าลองไหม? article
Sound: ไม่มีลิมิต...ชีวิตเกินร้อย...!!! article
Sound: ทำไมถึงนิยมใช้ Tip-Toe แค่ 3 จุด? article
Sound: CD (Digital Audio), DAD (DVD Audio) และ SACD article
Sound: กระบวนการผลิตแผ่นซีดีเพลง (CD Digital Audio) article
Sound: HDCD, XRCD คืออะไร? article
Sound: ประวัติความเป็นมาของงานบันทึกเสียง article
Sound: คุณคิดว่าสัตว์โลกชนิดใดหูดีกว่ากัน..!? article
Sound: ศัพท์แสงต่างๆ ของคนเล่นเครื่องเสียง article
Sound: รู้จักกับองค์ประกอบต่างๆ ของเครื่องเสียง article
Sound: ความสามารถในการได้ยินของมนุษย์ article
Sound: สุดยอดปลั๊กไฟแห่งวงการ article
Gen: ระวัง..! ก่อนซื้อของมือสอง article
Gen: อาหารเสริมระบบภาพและเสียง article
Gen: จะซื้อจะหิ้วของมาจาก ต.ป.ท. ควรคำนึงถึงเรื่องอะไรบ้าง? article
Joke: ทำไม่เสร็จ...ซ๊ากกกกก...กะที article
Joke: ตลาดขายเครื่องมือสอง article
Joke: สูตรหากำลังขับ PMPO <> RMS article
Joke: ท่าน...ศอ...จอ (2) article
Joke: ท่าน...ศอ...จอ (1) article
Joke: หลอดฯ เกรดทหารต่างๆ ให้แนวเสียงต่างกันอย่างไร? article
Joke: คุณอาจจะเป็นออดิโอไฟล์..!? article
DIY: อุดขั้ว RCA 100 จุดแค่ 6 บาท article
DIY: ขาลำโพงนิ่งลงได้ด้วยดินน้ำมัน article
DIY: ฟองน้ำ...ยกกำลัง 2 article
DIY: Ceilshade เพดานนุ่มเสียง article
หัว ข้ออื่นๆ ที่ได้รับความสนใจจากผู้เข้าชม... article

ไม่มีความคิดเห็น: